ประเทียบ ๑ หมายถึง ก. เทียบ.
น. พระสนม; เรียกรถฝ่ายในว่า รถพระประเทียบ, เรียกเรือฝ่ายในว่า เรือพระประเทียบ, โดยอนุโลมเรียกรถประจําตําแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่า รถพระประเทียบ.
ก. ทําให้ดีขึ้น เช่น ประเทืองผิว, ทําให้รุ่งเรืองขึ้น เช่น ประเทืองปัญญา.
น. ตําแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ตําแหน่งประธานรัฐสภา ตําแหน่งประธานกรรมการ, เรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการ.ว. ที่เป็นหลักสําคัญในที่นั้น ๆ เช่น พระประธาน.
(ไว) น. ผู้กระทำ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็นประธานของกริยา วิ่ง คนกินข้าวคน เป็นประธานของกริยา กิน.
น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. (ส. ปฺรธาน;ป. ปธาน).
[ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี] น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ.
ก. ยกกระพุ่มมือ, ยกมือขึ้นกระพุ่ม.